Page 12 - คู่มือนักเรียน นักศึกษา
P. 12

ประวัติวิทยำลัยเทคโนโลยีกรุงเทพ
                                                      สำรบัญ

                                                                                                                                           อาจารย์อุดม และอาจารย์พิศมัย แสงหิรัญ เป็นผู้ที่มีเจตนารมณ์ที่แน่วแน่ต่อการศึกษาของชาติด้วยดีเสมอ


                    ประวัติวิทยาลัย                                                                       11                       มา และเห็นสมควรว่าจะได้มีส่วนในการแบ่งเบาภาระงานด้านการศึกษาให้แก่ประเทศชาติจึงได้ด�าเนินการเปิดการ
                                                                                                                                   ศึกษาระดับมัธยมศึกษาขึ้นก่อนเป็นที่แรกคือ “โรงเรียนแสงหิรัญ” ซึ่งตั้งอยู่ที่ เชิงสะพานพระโขนง กรุงเทพมหานคร
                    แนวนโยบายของวิทยาลัย                                                                  13                       และเมื่อเห็นว่าการศึกษาระดับนี้ได้เจริญขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่ดีแล้ว จึงด�าริที่จะขยายการศึกษาให้สูงขึ้นไป
                    ระบบการจัดการศึกษา และความมุ่งหมายของหลักสูตร                                         13                               ดังนั้นในปี พ.ศ.2512 ท่านทั้งสองจึงได้เปิดการศึกษาสายอาชีวศึกษาขึ้นอีกแห่งหนึ่ง คือ“โรงเรียนกรุงเทพ

                    ปรัชญา และเป้าหมายของวิทยาลัย                                                         16                       ช่างกล”  ซึ่งท่านได้ทุ่มเทสติปัญญา  ทั้งก�าลังกาย  ก�าลังใจ  และก�าลังทรัพย์  เพื่อปรับปรุงการศึกษาสาขาช่าง

                    แผนภูมิบริหารของวิทยาลัย                                                              18                       อุตสาหกรรมให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกได้เปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 4 สาขา ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างไฟ
                    แผนผังบริเวณวิทยาลัย                                                                  19                       ฟ้า ช่างกลโรงงาน และช่างยนต์ ต่อมาในปี พ.ศ.2523 เห็นสมควรจะได้ยกระดับการศึกษาให้สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้อง

                    ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. 2548                 20                       กับแนวนโยบายของรัฐ จึงได้ขยายการศึกษาให้สูงขึ้น ต่อเนื่องจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และได้เปลี่ยนชื่อ

                    ระเบียบและแนวปฏิบัติของเรียนนักศึกษาโดยทั่วไป                                         22                       โรงเรียน  เพื่อสอดคล้องกับระดับการศึกษาเป็น  “โรงเรียนเทคโนโลยีกรุงเทพ”  และเพื่อให้เป็นไปตามพระราช

                    ระเบียบและแนวปฏิบัติว่าด้วยการลงโทษนักเรียน นักศึกษา                                  29                       บัญญัติโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาใช้ชื่อ “วิทยาลัย” แทน
                    ระเบียบเครื่องแต่งกายนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)                         30                       ค�าว่า “โรงเรียน” ได้โรงเรียนจึงได้เปลี่ยนค�าน�าหน้าจาก “โรงเรียนเทคโนโลยีกรุงเทพ” เป็น “วิทยาลัยเทคโนโลยี

                    ระเบียบเครื่องแต่งกายนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)                  32                       กรุงเทพ”และท�าพิธีเปิดป้ายอย่างเป็นทางการเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554
                                                                                                                                                                                                                    เพื่อน�าไปใช้ในการ
                                                                                                                                           และเนื่องจากเยาวชนของชาติอีกเป็นจ�านวนมากที่ยังไม่มีที่ศึกษาต่อด้านอาชีพ
                    การมอบตัวและการลงทะเบียนเรียนของนักเรียนชั้น ปวช.2 และ ปวช.3                          34                         ประกอบอาชีพทางด้านธุรกิจ และด้านอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการช่วยการพัฒนาประเทศชาติของเราให้เจริญก้าวหน้า
                    การลงทะเบียนของนักศึกษา ปวส.1 และ ปวส.2                                               34                       ยิ่งขึ้น ประกอบกับผู้บริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนทั่วประเทศ ได้มอบความไว้วางใจโดยได้เลือกให้อาจารย์อุดม

                    วิชาการ และ หลักการ                                                                   35                       แสงหิรัญ  เป็นนายกสมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย  และจากมติของคณะรัฐมนตรี  โดยความ

                    การจัดการเรียนการสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)                                 36                       เห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการมีมติแต่งตั้งให้อาจารย์อุดม  แสงหิรัญ  เป็นกรรมการในคณะกรรมการการศึกษา
                    การจัดการเรียนการสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)                          38                       เอกชนอีกต�าแหน่งหนึ่ง จึงมีโอกาสได้ใกล้ชิดงานการศึกษามากยิ่งขึ้น

                    ระเบียบว่าด้วยการจัดตั้งชมรมในสถานศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส.                            40                               จากประสบการณ์และความใกล้ชิดกับงานด้านการศึกษาดังกล่าว  จึงท�าให้มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะช่วย

                    การวัดและประเมินผลการเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)                            42                       งานด้านการศึกษาเพื่อส่วนร่วม ต่อไปอีก
                    การวัดและประเมินผลการเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)                     44                               ดังนั้นในปี  พ.ศ.2521  ท่านทั้งสองเห็นสมควรจะได้ขยายสาขาบริหารธุรกิจขึ้นอีก  เพื่อที่จะได้ตอบสนอง

                    การเรียนวิชาทหาร                                                                      46                       ความต้องการของผู้ปกครอง  และให้กุลบุตรกุลธิดาได้มีสถานศึกษาวิชาชีพด้านธุรกิจเพิ่มขึ้นจึงได้จัดตั้ง  “วิทยาลัย

                    การติดต่อกับงานทะเบียน                                                                46                       อาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ”     ขึ้นอีกแห่งหนึ่ง   ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานพระโขนง   เขตพระโขนง

                    การขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร                                                      46                       กรุงเทพมหานคร เปิดสอนด้านบริหารธุรกิจในแผนกเลขานุการ การบัญชี และการตลาด โดยในปัจจุบันเปิดสอนถึง
                    กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา                                                      47                       ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาขาบริหารธุรกิจ
                                                                                                                                           ในปี พ.ศ. 2524 ได้เล็งเห็นว่าการศึกษาของชาติสมควรจะกระจายไปสู่ภูมิภาคเพื่อให้ลูกหลานของผู้ที่อยู่
                                                                                                                                   ห่างไกลในชนบท  มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนให้ทัดเทียมกับคนในเมืองหลวง  จึงได้จัดตั้ง  “วิทยาลัยอาชีวศึกษา

                                                                                                                                   โปลีเทคนิคระยอง”  ขึ้นอีกแห่งหนึ่ง  ซึ่งตั้งอยู่ที่  ต�าบลเชิงเนิน  อ�าเภอเมือง  จังหวัดระยอง  มุ่งการศึกษาในด้าน
                                                                                                                                   วิชาชีพสาขาต่างๆ โดยปีแรกได้เปิดสอนเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจก่อน และในปีต่อ ไปจะเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ

                                                                                                                                   ต่อไป โดยปัจจุบันเปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบริหารธุรกิจ
                                                                                                                                           ปี  พ.ศ.  2539  ได้จัดตั้ง  “วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจกาญจนบุรี”  ตั้งอยู่ที่  293/2  อ�าเภอท่าม่วง

                                                                                                                                   จังหวัดกาญจนบุรี  เปิดสอนสาขาอุตสาหกรรม  และสาขาบริหารธุรกิจ  ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  และ
                                                                                                                                   ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

                                                                                                                                                                                                                                     11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17