Page 23 - คู่มือนักเรียน นักศึกษา
P. 23
ระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำร
ว่ำด้วยกำรลงโทษนักเรียนและนักศึกษำ พ.ศ. 2548
อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 รัฐมนตรี การท�าทัณฑ์บนให้ท�าเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิดและ
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษาไว้ดังนี้ รับรองการท�าทัณฑ์บนไว้ด้วย
ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ข้อ 9. การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ
2548” นักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาก�าหนด และให้ท�าบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ 2. ระเบียบนี้ให้ใช้บังครับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 10. ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระท�าความผิดที่
ข้อ 3. ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ.2543 สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อ 4. ในระเบียบนี้ การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการก�าหนด
“ ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�านวยการ อธิการบดี หรือ ข้อ 11. ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มีอ�านาจตีความ และวินิจฉัย
หัวหน้าของโรงเรียน หรือสถานศึกษา หรือต�าแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียน หรือ สถานศึกษานั้น ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
“ การท�าความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถาน
ศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา
“ การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�าความผิด โดยมีความมุ่งหมายเพื่อ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548
อบรมสั่งสอน อดิศัย โพธารามิก
ข้อ 5. โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�าความผิด มี 5 สถาน ดังนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(1) ว่ากล่าวตักเตือน
(2) ท�าทัณฑ์บน
(3) ตัดคะแนนความประพฤติ
(4) ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อ 6. ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือลงโทษด้วยความโกรธ หรือ
ด้วยความพยาบาท โดยให้ค�านึงถึงอายุนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษ
ด้วย
การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของนักเรียนหรือ
นักศึกษาให้รู้ส�านึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป
ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มีอ�านาจใน
การลงโทษนักเรียน นักศึกษา
ข้อ 7. การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�าความผิดไม่ร้ายแรง
ข้อ 8. การท�าทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติไม่เหมาะสม กับสภาพนักเรียนหรือ
นักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีท�าให้เสื่อมเสียชื่อเสียง และ
เกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่ยังไม่เข็ด
หลาบ
20 21